วันจันทร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

กิจกรรม 1 - 5 พฤศจิกายน 2553

กิจกรรม 1 - 5 พฤศจิกายน 2553 คะแนน 130 คะแนน
1. ให้ผู้เรียนสร้าง Blog จัดการเรียนรู้ใหม่โดยใช้เมล์และรหัสเดิม ตั้งชื่อเป็น ชื่อนักเรียนตามด้วยเลข253 และเลขห้อง เลขที่ เช่น
กิตติ ห้องม.6/3 เลขที่ 1 เป็น kitti2536301.blogspot.com ( 5 คะแนน )
2. เมื่อสร้างแล้วให้นำรูปตนเองใส่ให้เรียบร้อย ( 5 คะแนน )
3. ทำการสร้างบทความที่ 1 ข้อตกลงในการเรียนโดยการ copy จาก Blog กลาง ( 5 คะแนน )
4. ทำการสร้างบทความที่ 2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังโดยการ copy จาก Blog กลาง ( 5 คะแนน )
5. copy URL ใหม่ นำส่งในช่องแสดงความคิดเห็นใต้บทความนี้ โดยระบุชื่อ-นามสกุล ห้อง เลขที่ ดังนี้
ส่ง URL ของนายกิตติ รักเรียน ม.6/3 เลขที่ 1 http://kitti2536301.blogspot.com ( 10 คะแนน )
6. ให้นำ code box ไปวางที่ Blog ของนักเรียน http://cid-f528298da2eb5212.office.live.com/self.aspx/m5debsirinsp/codeshoutbox.txt ( 50 คะแนน)
7. ครีเอทีฟคอมมอน สัญญาอนุญาต ใส่ที่ด้านล่างของ Blog ที http://creativecommons.org/choose/results-one?license_code=by-nc-sa&jurisdiction=th&version=3.0&lang=th ( 50 คะแนน) ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระ วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต 4 รหัส ว 43282 ช่วงชั้นที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น ม. 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค
1. สำรวจตรวจสอบ อภิปรายและอธิบายกระบวนการที่สารผ่านเซลล์ และการรักษาดุลยภาพของเซลล์
2. สำรวจตรวจสอบ อภิปรายและอธิบาย เกี่ยวกับกลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำ อุณหภูมิ กรด-เบสและแร่ ธาตุต่างๆ ของ สิ่งมีชีวิต
3. นำความรู้เรื่องการรักษาดุลยภาพไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสิ่งมีชีวิตอื่น
4. สำรวจ สังเกตลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตต่างๆในท้องถิ่น ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันของสิ่งมีชีวิตหลากหลาย และจำแนกเป็นกลุ่มได้
5. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ อภิปรายและนำเสนอประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ และผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
6. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และนำเสนอคุณค่าของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ที่มีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
7. สังเกตสภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกันในสภาพแวดล้อมและสร้างสถานการณ์จำลองแสดงถึงปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิต
8. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
9. สืบค้นข้อมูล และอธิบายโครงสร้างอะตอม ชนิดและจำนวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมจาก สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ของธาตุ วิเคราะห์และเปรียบเทียบการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ
10. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุ และการเกิดปฏิกิริยา
11. อธิบายการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ และทำนายแนวโน้มของสมบัติของธาตุในตารางธาตุ
12. ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล อภิปรายและอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุลหรือในโครงผลึกของสาร และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสาร ในเรื่องจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร
13. ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติ สารประกอบและเลขอะตอมของธาตุ

ข้อตกลงในการเรียนด้วย Social Media ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ข้อตกลงในการเรียนด้วย Social Media ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
1. เข้าศึกษาเว็บกลาง ม.6 ที่ http://m6term2debsp.blogspot.com/
2. ปฏิบัติตามคำแนะนำในแต่ละคาบเวลาที่กำหนดไว้
3. ดำเนินกิจกรรมตามใบงานที่กำหนด
4. ส่งงานตามใบงานกำหนดให้เสร็จสมบูรณ์ตามเวลาที่กำหนด
5. บันทึก/Capture หน้างาน ส่งทางเมล์ทุกครั้งที่ทำงานแล้วเสร็จ
ม.6 ส่งที่ karnpitcha_j@yahoo.co.th
6. ไฟล์ที่ส่งงาน ให้บันทึกวันที่ทำงานตามด้วย ห้องและเลขที่ของนักเรียน เช่น ปฏิบัติกิจกรรมวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 ห้อง 6/3 เลขที่ 28 เป็นดังนี้ 1-11-2553-6328
7. ไม่รับงานที่ช้ากว่ากำหนด ยกเว้นมีเหตุจำเป็นจะพิจารณาเป็นราย ๆ ไป ลำดับการส่งงานมีผลต่อคะแนนเก็บด้วย
8. ผู้ที่ขาดการส่งงานเกิน 3 ครั้งจะขอพบผู้ปกครองเพื่อดำเนินการแก้ไขต่อไป
ข้อ 1 ตอบ ข้อ 3. สัตว์เท่านั้น
อธิบาย
- ดีเอ็นเอ (อังกฤษ: DNA) (Deoxyribonucleic acid) ที่พบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ได้แก่ คน, สัตว์, พืช, เชื้อรา, แบคทีเรีย, ไวรัส เป็นต้น
-ไรโบโซม (Ribosome )เป็นออร์แกแนลล์ที่ประกอบด้วยโปรตีนและ rRNA ที่พบใน เซลล์ทุกชนิด
- เยื่อหุ้มเซลล์ อยู่ด้านนอกสุดของเซลล์ ทำหน้าที่ห่อหุ้มส่วนต่างๆ
ที่อยู่ภายในเซลล์ แบ่งแยกขอบเขตของเซลล์จากสิ่งแวดล้อม และควบคุม
การลำเลียงของสารเข้าและออกจากเซลล์
- เอนไซม์ (อังกฤษ: enzyme) เป็นโปรตีนที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมี เอนไซม์มีความสำคัญและจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต เพราะว่าปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่ในเซลล์จะเกิดช้ามาก
- ไมโทคอนเดรีย ทำหน้าที่เป็นแหล่งพลังงานของเซลล์ ส่วนใหญ่มีรูปร่างกลมท่อนสั้น คล้ายไส้กรอก
เซลล์ที่มีไมโทคอนเดรียมากคือ เซลล์ตับ ภายในไมโทรคอนเดรียยังมี DNA รวมอยู่ด้วย ซึ่งเป็น DNA ที่มาจากแม่โดยตรง ส่วน DNA ที่อยู่ในนิวเคลียสนั้น จะเป็นที่ DNA ที่รวมจากพ่อและแม่


ข้อ 2 ตอบ ข้อ 4.การลำเลียงแบบใช้พลังงาน
อธิบาย
- หน่วยไต (Nephron) แต่ละหน่วยเป็นท่อ มีปลายข้างหนึ่งเป็นกระเปาะที่ ประกอบด้วยเยื่อบาง ๆ สองชั้น คือ โบวแมนส์แคปซูล (Bowman’s Capsule) ภายในโบวแมนส์แคปซูล จะมีกลุ่มเส้นเลือดฝอย เรียกว่า โกลเมอรูลัส (Glomerulus) โบวแมนส์ แคปซูล อยู่ในชั้นคอร์เทกซ์ ท่อส่วนใหญ่จะอยู่ในชั้นของเมดุลลา ท่อที่ติดต่อกับโบวแมนส์ แคปซูล ทำหน้าที่ดูดน้ำและสารที่ร่างกายกลับคืนการกรองจะเกิดขึ้นที่โกลเมอรูลัส โดยผนังเส้นเลือดฝอยทำหน้าที่เป็นเยื่อกรองการลำเลียงน้ำหรือสารอาหารต่าง ๆ เข้าออกจากเซลล์
- การลำเลียงแบบใช้พลังงาน อาศัยโปรตีนที่แทรกอยู่ในเยื่อหุ้มเซลล์ ทำหน้าที่เป็นตัวลำเลียงเช่นเดียวกับการแพร่แบบฟาซิลิเทต แต่แตกต่างกันตรงที่เซลล์ต้องใช้พลังงานเป็นตัวพา เรียกว่า ATP เพื่อเป็นแรงผลักในการลำเลียง ซึ่งทิศทางตรงข้ามกับการแพร่
- การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ เป็นการนำการลำเลียงสารเข้าสู่เซลล์ ที่เกิดขึ้นโดยมีโปรตีนเป็นตัวรับบนเยื่อหุ้มเซลล์ สารที่ถูกลำเลียงเข้าสู่เซลล์ด้วยวิธีนี้จะต้องมีความจำเพาะในการจับกับโปรตีนตัวรับที่อยุ่บนเยื่อหุ้มเซลล์จึงจะสามารถนำเข้าสู่เซลล์ได้ หลังจากนั้นเยื่อหุ้มเซลล์จึงเว้าเป็นเวสิเคิลหลุดเข้าสู่ภายในเซลล์

ข้อ 3 ตอบ ข้อ 2.การหลั่งฮอร์โมนวาโซเปรสซินลดลง
อธิบาย
วาโซเพรสซิน (vasopressin) หรือ แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน (antidiuretic hormone) เป็นเปปไทด์ฮอร์โมน ที่ได้ชื่อเช่นนี้เพราะเป็นฮอร์โมนที่ทำให้เส้นเลือดหดรัดตัว และลดการหลั่งปัสสาวะเรียกชื่อย่อว่า ADH
ร้อยละ 70 ของสารในร่างกายคือน้ำ แม้ว่าเราจะดื่มน้ำวันละมากๆ หรือเสียเหงื่อในวันที่มีอากาศร้อนมากๆ แต่ความเข้มข้นของสารน้ำในร่างกายยังปกติ นอกจากการทำงานของไตแล้ว ฮอร์โมนที่สำคัญที่ควบคุมให้ร่างกายมีสารน้ำปกติคือ แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน (antidiuretic hormone)

ข้อ 4 ตอบ ข้อ 3.ไม่เป็นกรด เพราะเลือดมีสมบัติเป็นสารละลายบัฟเฟอร์

ข้อ 5 ตอบ ข้อ 1.การเผาทำลายพืช
อธิบาย
เชื้อไวรัส โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส เป็นโรคที่รักษาได้ยากมากส่วนใหญ่มักจะตัดส่วนที่เป็นโรคหรืออาจทำลายทั้งต้น โดยการเผาก็ได้ อาการที่พบอยู่บ่อย ๆ คือ
อาการที่ใบและลำต้น จะมีจุดเขียวคล้ำ ใบหงิกงอหรือใบด่าง มีผลทำให้เนื้อเยื่อในส่วนที่ถูกทำลาย ค่อย ๆ ตายลงที่ละน้อย การเข้าสู่พืชของเชื้อไวรัส จะอาศัย
แมลงปากดูด เพลี้ยต่างๆ หรือบางครั้งอาจติดมากับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้งานก็ได้

เชื้อแบคทีเรีย โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียนี้ การรักษาส่วนมากมักจะไม่ทันการณ์ เพราะเชื้อจะแพร่เข้าไปตามท่อน้ำและท่ออาหารของพืช ทำให้มีผลต่อทุกส่วน
ของพืช การหาทางป้องกันดูเหมือนจะเป็นวิธีที่ดีที่สุด โดยการสร้างสภาวะให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืชและควรทำลายต้นพืชที่ได้รับเชื้อเข้าไป โดยการ
เผาทำลายทั้งต้น อย่าทำลายเพียงเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใด

ข้อ 6 ตอบ ข้อ 4. แอนติบอดี
อธิบาย
แอนติบอดี (อังกฤษ: antibody) เป็นโปรตีนขนาดใหญ่ในระบบภูมิคุ้มกันที่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์ชั้นสูงอื่นๆ สร้างขึ้น ที่มีหน้าที่ตรวจจับและทำลายฤทธิ์สิ่งแปลกปลอมต่อร่างกาย เช่น แบคทีเรีย และไวรัส
แอนตีบอดีแต่ละชนิดจะจดจำโมเลกุลเป้าหมายที่จำเพาะของมันคือ แอนติเจน (antigen

ข้อ 7 ตอบ ข้อ 2.น้ำเชื่อม
อธิบาย

1. เซลล์มีรูปร่างลักษณะต่างๆกัน โดยเซลล์พืชทั่วไปจะเป็นรูปเหลี่ยม ส่วนเซลล์สัตว์รูปร่างไม่เป็นเหลี่ยมชัดเจนเหมือนเซลล์พืช
2. เซลล์พืชมีส่วนประกอบเรียงจากด้านนอกเข้าหาด้านใน คือ ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์
ไซโตพลาสซึม และนิวเคลียส และในเซลล์บางชนิด เช่น เซลล์สาหร่ายหางกระรอก พบเม็ดสีเขียวจำนวนมากเรียกว่า คลอโรพลาสต์ลอยอยู่ในไซโตพลาสซึม เซลล์สัตว์มีส่วนประกอบเหมือนกับเซลล์พืช คือ นิวเคลียส ไซโตพลาสซึม และเยื่อหุ้มเซลล์ แต่ไม่มีผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์
3.เซลล์พืชและเซลล์สัตว์จะแตกต่างกัน โดยเซลล์พืชจะมีรูปร่างเป็นเหลี่ยมชัดเจน แต่เซลล์สัตว์จะมีรูปร่างแตกต่างกันออกไปตามหน้าที่ของเซลล์

ข้อ 8 ตอบ ข้อ 4.ไนโตรเจนเบสชนิดกวานีนและไซโทซีนจะจับคู่กันด้วย
พันธะคู่เสมอ

ข้อ 9 ตอบ ข้อ 3. 1/8
อธิบาย
กรุ๊ปA มีลักษณะทางโคโมโซม(จีโนไทป์) AA หรือ AO
กรุ๊ปB มีลักษณะทางโคโมโซม(จีโนไทป์) BB หรือ BO
กรุ๊ปAB มีลักษณะทางโคโมโซม(จีโนไทป์) AB
กรุ๊ปO มีลักษณะทางโคโมโซม(จีโนไทป์) OO
ดังนั้นถ้าพ่อกรุ๊ปเลือด O ก็จะมีจีโนไทป์เป็น OO
แม่กรุ๊ปเลือด A ก็จะมีจีโนไทป์เป็น AA หรือ AO โอกาสก็จะมี 1 ใน 8

ข้อ 10 ตอบ ข้อ 4.ผู้ที่ได้รับแอลลีลผิดปกติจากพ่อหรือแม่เพียงฝ่ายเดียว
มีโอกาสเป็นโรคได้
อธิบาย
ลักษณะตาบอดสี เป็นลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนด้อย กำหนดให้ c แทนแอลลีลที่ควบคุมลักษณะตาบอดสี และ C แทนแอลลีลที่ควบคุมลักษณะตาปกติยีนคู่นี้อยู่บนโครโมโซม X ดังนั้นสัญลักษณ์แทนยีนจึงเขียนเป็น Xc และ XC สำหรับจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลักษณะตาบอดสี

อธิบาย

ข้อ 1 ตอบ ข้อ 3. สัตว์เท่านั้น
อธิบาย
- ดีเอ็นเอ (อังกฤษ: DNA) (Deoxyribonucleic acid) ที่พบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ได้แก่ คน, สัตว์, พืช, เชื้อรา, แบคทีเรีย, ไวรัส เป็นต้น
-ไรโบโซม (Ribosome )เป็นออร์แกแนลล์ที่ประกอบด้วยโปรตีนและ rRNA ที่พบใน เซลล์ทุกชนิด
- เยื่อหุ้มเซลล์ อยู่ด้านนอกสุดของเซลล์ ทำหน้าที่ห่อหุ้มส่วนต่างๆ
ที่อยู่ภายในเซลล์ แบ่งแยกขอบเขตของเซลล์จากสิ่งแวดล้อม และควบคุม
การลำเลียงของสารเข้าและออกจากเซลล์
- เอนไซม์ (อังกฤษ: enzyme) เป็นโปรตีนที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมี เอนไซม์มีความสำคัญและจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต เพราะว่าปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่ในเซลล์จะเกิดช้ามาก
- ไมโทคอนเดรีย ทำหน้าที่เป็นแหล่งพลังงานของเซลล์ ส่วนใหญ่มีรูปร่างกลมท่อนสั้น คล้ายไส้กรอก
เซลล์ที่มีไมโทคอนเดรียมากคือ เซลล์ตับ ภายในไมโทรคอนเดรียยังมี DNA รวมอยู่ด้วย ซึ่งเป็น DNA ที่มาจากแม่โดยตรง ส่วน DNA ที่อยู่ในนิวเคลียสนั้น จะเป็นที่ DNA ที่รวมจากพ่อและแม่


ข้อ 2 ตอบ ข้อ 4.การลำเลียงแบบใช้พลังงาน
อธิบาย
- หน่วยไต (Nephron) แต่ละหน่วยเป็นท่อ มีปลายข้างหนึ่งเป็นกระเปาะที่ ประกอบด้วยเยื่อบาง ๆ สองชั้น คือ โบวแมนส์แคปซูล (Bowman’s Capsule) ภายในโบวแมนส์แคปซูล จะมีกลุ่มเส้นเลือดฝอย เรียกว่า โกลเมอรูลัส (Glomerulus) โบวแมนส์ แคปซูล อยู่ในชั้นคอร์เทกซ์ ท่อส่วนใหญ่จะอยู่ในชั้นของเมดุลลา ท่อที่ติดต่อกับโบวแมนส์ แคปซูล ทำหน้าที่ดูดน้ำและสารที่ร่างกายกลับคืนการกรองจะเกิดขึ้นที่โกลเมอรูลัส โดยผนังเส้นเลือดฝอยทำหน้าที่เป็นเยื่อกรองการลำเลียงน้ำหรือสารอาหารต่าง ๆ เข้าออกจากเซลล์
- การลำเลียงแบบใช้พลังงาน อาศัยโปรตีนที่แทรกอยู่ในเยื่อหุ้มเซลล์ ทำหน้าที่เป็นตัวลำเลียงเช่นเดียวกับการแพร่แบบฟาซิลิเทต แต่แตกต่างกันตรงที่เซลล์ต้องใช้พลังงานเป็นตัวพา เรียกว่า ATP เพื่อเป็นแรงผลักในการลำเลียง ซึ่งทิศทางตรงข้ามกับการแพร่
- การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ เป็นการนำการลำเลียงสารเข้าสู่เซลล์ ที่เกิดขึ้นโดยมีโปรตีนเป็นตัวรับบนเยื่อหุ้มเซลล์ สารที่ถูกลำเลียงเข้าสู่เซลล์ด้วยวิธีนี้จะต้องมีความจำเพาะในการจับกับโปรตีนตัวรับที่อยุ่บนเยื่อหุ้มเซลล์จึงจะสามารถนำเข้าสู่เซลล์ได้ หลังจากนั้นเยื่อหุ้มเซลล์จึงเว้าเป็นเวสิเคิลหลุดเข้าสู่ภายในเซลล์

ข้อ 3 ตอบ ข้อ 2.การหลั่งฮอร์โมนวาโซเปรสซินลดลง
อธิบาย
วาโซเพรสซิน (vasopressin) หรือ แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน (antidiuretic hormone) เป็นเปปไทด์ฮอร์โมน ที่ได้ชื่อเช่นนี้เพราะเป็นฮอร์โมนที่ทำให้เส้นเลือดหดรัดตัว และลดการหลั่งปัสสาวะเรียกชื่อย่อว่า ADH
ร้อยละ 70 ของสารในร่างกายคือน้ำ แม้ว่าเราจะดื่มน้ำวันละมากๆ หรือเสียเหงื่อในวันที่มีอากาศร้อนมากๆ แต่ความเข้มข้นของสารน้ำในร่างกายยังปกติ นอกจากการทำงานของไตแล้ว ฮอร์โมนที่สำคัญที่ควบคุมให้ร่างกายมีสารน้ำปกติคือ แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน (antidiuretic hormone)

ข้อ 4 ตอบ ข้อ 3.ไม่เป็นกรด เพราะเลือดมีสมบัติเป็นสารละลายบัฟเฟอร์

ข้อ 5 ตอบ ข้อ 1.การเผาทำลายพืช
อธิบาย
เชื้อไวรัส โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส เป็นโรคที่รักษาได้ยากมากส่วนใหญ่มักจะตัดส่วนที่เป็นโรคหรืออาจทำลายทั้งต้น โดยการเผาก็ได้ อาการที่พบอยู่บ่อย ๆ คือ
อาการที่ใบและลำต้น จะมีจุดเขียวคล้ำ ใบหงิกงอหรือใบด่าง มีผลทำให้เนื้อเยื่อในส่วนที่ถูกทำลาย ค่อย ๆ ตายลงที่ละน้อย การเข้าสู่พืชของเชื้อไวรัส จะอาศัย
แมลงปากดูด เพลี้ยต่างๆ หรือบางครั้งอาจติดมากับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้งานก็ได้

เชื้อแบคทีเรีย โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียนี้ การรักษาส่วนมากมักจะไม่ทันการณ์ เพราะเชื้อจะแพร่เข้าไปตามท่อน้ำและท่ออาหารของพืช ทำให้มีผลต่อทุกส่วน
ของพืช การหาทางป้องกันดูเหมือนจะเป็นวิธีที่ดีที่สุด โดยการสร้างสภาวะให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืชและควรทำลายต้นพืชที่ได้รับเชื้อเข้าไป โดยการ
เผาทำลายทั้งต้น อย่าทำลายเพียงเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใด

ข้อ 6 ตอบ ข้อ 4. แอนติบอดี
อธิบาย
แอนติบอดี (อังกฤษ: antibody) เป็นโปรตีนขนาดใหญ่ในระบบภูมิคุ้มกันที่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์ชั้นสูงอื่นๆ สร้างขึ้น ที่มีหน้าที่ตรวจจับและทำลายฤทธิ์สิ่งแปลกปลอมต่อร่างกาย เช่น แบคทีเรีย และไวรัส
แอนตีบอดีแต่ละชนิดจะจดจำโมเลกุลเป้าหมายที่จำเพาะของมันคือ แอนติเจน (antigen

ข้อ 7 ตอบ ข้อ 2.น้ำเชื่อม
อธิบาย

1. เซลล์มีรูปร่างลักษณะต่างๆกัน โดยเซลล์พืชทั่วไปจะเป็นรูปเหลี่ยม ส่วนเซลล์สัตว์รูปร่างไม่เป็นเหลี่ยมชัดเจนเหมือนเซลล์พืช
2. เซลล์พืชมีส่วนประกอบเรียงจากด้านนอกเข้าหาด้านใน คือ ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์
ไซโตพลาสซึม และนิวเคลียส และในเซลล์บางชนิด เช่น เซลล์สาหร่ายหางกระรอก พบเม็ดสีเขียวจำนวนมากเรียกว่า คลอโรพลาสต์ลอยอยู่ในไซโตพลาสซึม เซลล์สัตว์มีส่วนประกอบเหมือนกับเซลล์พืช คือ นิวเคลียส ไซโตพลาสซึม และเยื่อหุ้มเซลล์ แต่ไม่มีผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์
3.เซลล์พืชและเซลล์สัตว์จะแตกต่างกัน โดยเซลล์พืชจะมีรูปร่างเป็นเหลี่ยมชัดเจน แต่เซลล์สัตว์จะมีรูปร่างแตกต่างกันออกไปตามหน้าที่ของเซลล์

ข้อ 8 ตอบ ข้อ 4.ไนโตรเจนเบสชนิดกวานีนและไซโทซีนจะจับคู่กันด้วย
พันธะคู่เสมอ

ข้อ 9 ตอบ ข้อ 3. 1/8
อธิบาย
กรุ๊ปA มีลักษณะทางโคโมโซม(จีโนไทป์) AA หรือ AO
กรุ๊ปB มีลักษณะทางโคโมโซม(จีโนไทป์) BB หรือ BO
กรุ๊ปAB มีลักษณะทางโคโมโซม(จีโนไทป์) AB
กรุ๊ปO มีลักษณะทางโคโมโซม(จีโนไทป์) OO
ดังนั้นถ้าพ่อกรุ๊ปเลือด O ก็จะมีจีโนไทป์เป็น OO
แม่กรุ๊ปเลือด A ก็จะมีจีโนไทป์เป็น AA หรือ AO โอกาสก็จะมี 1 ใน 8

ข้อ 10 ตอบ ข้อ 4.ผู้ที่ได้รับแอลลีลผิดปกติจากพ่อหรือแม่เพียงฝ่ายเดียว
มีโอกาสเป็นโรคได้
อธิบาย
ลักษณะตาบอดสี เป็นลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนด้อย กำหนดให้ c แทนแอลลีลที่ควบคุมลักษณะตาบอดสี และ C แทนแอลลีลที่ควบคุมลักษณะตาปกติยีนคู่นี้อยู่บนโครโมโซม X ดังนั้นสัญลักษณ์แทนยีนจึงเขียนเป็น Xc และ XC สำหรับจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลักษณะตาบอดสี

วันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สาระ วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต 4 รหัส ว 43282 ช่วงชั้นที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น ม. 6
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายภาค
1. สำรวจตรวจสอบ อภิปรายและอธิบายกระบวนการที่สารผ่านเซลล์ และการรักษาดุลยภาพของเซลล์
2. สำรวจตรวจสอบ อภิปรายและอธิบาย เกี่ยวกับกลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำ อุณหภูมิ กรด-เบสและแร่ ธาตุต่างๆ ของ สิ่งมีชีวิต
3. นำความรู้เรื่องการรักษาดุลยภาพไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสิ่งมีชีวิตอื่น
4. สำรวจ สังเกตลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตต่างๆในท้องถิ่น ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันของสิ่งมีชีวิตหลากหลาย และจำแนกเป็นกลุ่มได้
5. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ อภิปรายและนำเสนอประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ และผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
6. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และนำเสนอคุณค่าของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ที่มีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
7. สังเกตสภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกันในสภาพแวดล้อมและสร้างสถานการณ์จำลองแสดงถึงปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิต
8. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
9. สืบค้นข้อมูล และอธิบายโครงสร้างอะตอม ชนิดและจำนวนอนุภาคมูลฐานของอะตอมจาก สัญลักษณ์นิวเคลียร์ ของธาตุ วิเคราะห์และเปรียบเทียบการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ
10. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัติของธาตุ และการเกิดปฏิกิริยา
11. อธิบายการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ และทำนายแนวโน้มของสมบัติของธาตุในตารางธาตุ
12. ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล อภิปรายและอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุลหรือในโครงผลึกของสาร และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสาร ในเรื่องจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะกับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร
13. ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติ สารประกอบและเลขอะตอมของธาตุ
ข้อตกลงในการเรียนด้วย Social Media ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
1. เข้าศึกษาเว็บกลาง ม.6 ที่ http://m6term2debsp.blogspot.com/
2. ปฏิบัติตามคำแนะนำในแต่ละคาบเวลาที่กำหนดไว้
3. ดำเนินกิจกรรมตามใบงานที่กำหนด
4. ส่งงานตามใบงานกำหนดให้เสร็จสมบูรณ์ตามเวลาที่กำหนด
5. บันทึก/Capture หน้างาน ส่งทางเมล์ทุกครั้งที่ทำงานแล้วเสร็จ
ม.6 ส่งที่ karnpitcha_j@yahoo.co.th
6. ไฟล์ที่ส่งงาน ให้บันทึกวันที่ทำงานตามด้วย ห้องและเลขที่ของนักเรียน เช่น ปฏิบัติกิจกรรมวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 ห้อง 6/3 เลขที่ 28 เป็นดังนี้ 1-11-2553-6328
7. ไม่รับงานที่ช้ากว่ากำหนด ยกเว้นมีเหตุจำเป็นจะพิจารณาเป็นราย ๆ ไป ลำดับการส่งงานมีผลต่อคะแนนเก็บด้วย
8. ผู้ที่ขาดการส่งงานเกิน 3 ครั้งจะขอพบผู้ปกครองเพื่อดำเนินการแก้ไขต่อไป